วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555

เครื่องดื่มชูกำลังของไทย ของดีของไทย จ.นครปฐม


 

[แก้] 50-50 ประโยชน์ของเครื่องดื่มชูกำลัง

นักวิจัยกล่าวว่า เนื่องจากเครื่องดื่มชูกำลังมีส่วนผสมของทอรีน ซึ่งสามารถลดอาการเมาค้าง ลดคลอเลสเตอรอล แต่ก็มีบางรายอ้างสรรพคุณว่า ช่วยส่งกระแสความรู้สึกให้ไวขึ้น ซึ่งคล้ายกับสารในนมแม่ ทำให้เครื่องดื่มของเด็กบางยี่ห้อได้ไส่สารนี้เข้าไป และยังมีสารอาหารประเภทวิตามินอีกหลายแบบ เช่น วิตามินบี6 ซึ่งช่วยช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน และ ช่วยร่างกายสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและแร่ธาตุแมกนีเซียม และวิตามินบี12 ที่มีคุณสมบัติช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง สำหรับเครื่องดื่มชูกำลังบางยี่ห้อที่มีราคาสูงจะมีส่วนผสมของสารกลูคูโรโนแลกโตน ซึ่งเป็นสารประกอบอีกชนิดหนึ่งของเครื่องดื่มชูกำลังช่วยทำให้ทุเลาอาการเหนื่อย ช่วยบำรุงข้อต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย [27]

[แก้] ผลกระทบของเครื่องดื่มชูกำลัง

[แก้] ด้านสุขภาพ

นักวิชาการหลายท่านออกมากล่าวว่า โทษของเครื่องดื่มชูกำลังส่งผลกระทบร้ายแรงในด้านจิตใจ เช่น กระสับกระส่าย มือเท้าสั่น โดยเฉพาะในเด็ก ในกรณีดื่มเครื่องดื่มชูกำลังร่วมกับสุรา จะทำให้เพิ่มอาการเมาเป็น 2 เท่า ส่วนอาจารย์จูเลีย เชสเตอร์ อาจารย์ท่านหนึ่งกล่าวว่า คนส่วนใหญ่ตกเป็นเหยื่อของสุรา แต่คนเหล่านั้นก็ยังพยายามก็จะต่อสู้จากการโฆษณาสุรา ทำให้เป็นที่มาของการโฆษณาเครื่องดื่มชูกำลังในท้องตลาด สำหรับในสถานศึกษาก็เริ่มมี "เหล้าชูกำลัง" เนื่องจากนักศึกษาบางคนต้องการดื่มสุรา แม้ว่าจะผิดกฎหมายก็ตาม โดยเครื่องดื่มชูกำลังที่ผสมกับสุรานั้น มีอันตรายมากกว่าอาการเมาค้าง ถึงแม้จะเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมก็ตาม ด้านแทมมี่ ลูว์ ผู้ช่วยผู้สนับสนุนสุขภาพ ของสำนักงานสุขภาพนักเรียน กล่าวว่า เครื่องดื่มชนิดนี้เมื่อดื่มเข้าไปแล้วจะไม่รู้สึกอ่อนล้าหรือเพลีย แต่จะเป็นอันตรายต่อเยาวชน เนื่องจากเยาวชนจะเข้าใจผิดว่าเครื่องดื่มชนิดนี้ดื่มแล้วจะไม่เป็นอันตราย อาการที่เกิดขึ้นได้แก่ เกิดอาการขาดน้ำ เนื่องจากฤทธิ์ของคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ผสมกัน (ส่วนใหญ่คนจะเข้าใจผิดว่าการผสมเครื่องดื่ม 2 ชนิดเข้าด้วยกันจะช่วยแก้อาการเมาค้างได้) แต่ในการทดลองนำยากระตุ้นประสาทผสมกับยากดประสาท ปรากฏว่าไม่เกิดอาการเมาค้างแต่อย่างใด[28] สำหรับผลการวิจัยจากประเทศออสเตรเลียก็ระบุว่า การดื่มเครื่องดื่มชูกำลังอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต สำหรับคนที่มีอาการเครียด มีความดันโลหิตสูง หรือมีระบบการทำงานของระบบหลอดเลือดบกพร่อง สามารถทำให้เป็นโรคหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองอุดตัน ได้ ทำให้มีนักวิชาการหลายท่านแนะนำว่าไม่ควรดื่มเครื่องดื่มชูกำลังวันละ 2 ขวด

ฟิฟตี้-ฟิฟตี้ เครื่องดื่มชูกำลัง ของดี จ.นครปฐม รับสมัครตัวแทนจำหน่ายทั่วไทย

 

 

คน นครปฐมเครื่องดื่ม จำกัด ติดต่อผู้แทนจำหน่าย เงื่อนไขการจำหน่าย

คน นครปฐมเครื่องดื่ม จำกัด

ติดต่อผู้แทนจำหน่าย เงื่อนไขการจำหน่าย

 



คน นครปฐมเครื่องดื่ม
เครื่องดื่มชูกำลัง 50-50 
รุ่น 2000 
เน้นคุณภาพจิตใจ


ทุกสรรพสิ่ง... แห่งความดีทั้งผอง  พึงมี  พึงเกิด  พึงเป็น  พึงได้รับ  พึงพบเห็น  พึงครอบครอง
ผู้มีความดี  ผู้มีความเข้าใจ  ผู้มีความเพียร  ผู้มีความรัก  ผู้มีความเมตตา  ผู้มีคุณธรรม
ทุกสรรพสิ่งแห่งความดีทั้งผอง... ล้วนเป็นหนึ่ง "<3" ในหัวใจเรา
From my heart : Thanyalak 12-12-12

ฝ่ายการตลาด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ติดต่อ ดร.สมัย  099-147-5515

คุณสมบัติและผู้อื่น ความก้าวหน้าของกิจการ ผู้บริหารเห็นด้วยกับแนวทางที่กำหนด และผู้ปฏิบัติเห็นด้วยและให้ความร่วมมือ

ความสามารถขององค์การทางด้านต่างๆ
-ความสามารถขององค์การทางด้านการตลาด พิจารณาจาก วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ธุรกิจที่กำลังดำเนินอยู่ องค์ประกอบอื่นทางด้านการตลาด กลยุทธ์การตลาด แผนที่มีองค์ประกอบสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด ได้แก่ เงิน บุคคล อุปกรณ์ ส่วนประสมทางการตลาด และศักยภาพของผู้ปฏิบัติ
-ความสามารถขององค์การทางด้านการเงิน พิจารณาจาก แหล่งเงินลงทุน ความสามารถในการทำเงินให้เข้าสู่กิจการ และความสามารถในการชำระหนี้
-ความสามารถขององค์การทางด้านบุคคล พิจารณาจาก จำนวนบุคลากร คุณภาพบุคลากรความสามารถของผู้บริหาร และผลตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ
-ความสามารถขององค์การทางด้านการผลิตและเครื่องจักรอุปกรณ์ พิจารณาจาก บุคลากร ระบบกระบวนการผลิต การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน การวางผังโรงงาน การเตรียมการสั่งซื้อ การระบุแหล่งแหล่งวัตถุดิบ และรายละเอียดของวัตถุดิบ มีความชัดเจนและเหมาะสม และการเงินสนับสนุนเพียงพอต่อกระบวนการผลิตด้วย
-ความสามารถขององค์การทางด้านการบริหาร พิจารณาจาก ผู้บริหาร นโยบายการบริหาร ระบบการบริหารภายใน และการวางแนวทางการบริหาร

ดังนั้น ผู้ทำธุรกิจควรพิจารณาว่าแผนธุรกิจจะมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด จากขั้นตอนในการนำแผนไปปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติและวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกัน หากผู้ปฏิบัติมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนด้วยแผนนั้นจะเกิดความเป็นไปได้มากที่สุด


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

นักวิจัย :- เครื่องดื่มชูกำลัง  มีส่วนผสมของทอรีนซึ่งสามารถลดอาการเมาค้าง ลดคลอเลสเตอรอล ช่วยส่งกระแสความรู้สึกให้ไวขึ้น ซึ่งคล้ายกับสารในนมแม่ ทำให้เครื่องดื่มของเด็กบางยี่ห้อได้ใส่สารนี้เข้าไป และยังมีสารอาหารประเภทวิตามินอีกหลายแบบ เช่น วิตามินบี6 ซึ่งช่วยช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน และ ช่วยร่างกายสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและแร่ธาตุแมกนีเซียม และวิตามินบี12 ที่มีคุณสมบัติช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง มีส่วนผสมของสารกลูคูโรโนแลกโตน ช่วยบรรเทาอาการเหนื่อย ช่วยบำรุงข้อต่อต่างๆ
ผลการวิจัย :- การปรับสภาพจิตใจ, การรับรู้, การชักชวนจากบุคคลอื่นๆ และการถูกล่อใจด้วยการโฆษณา เป็นสิ่งที่สำคัญ สาเหตุเริ่มด้วยความรู้สึกสบาย(ระดับแรกเริ่ม-ปานกลาง) จากการกระตุ้นของคาเฟอีน และช่วยให้ร่างกาย-กล้ามเนื้อ มีความอดทนมากขึ้น คือเหตุผลที่ยิ่งใหญ่ของอำนาจของเครื่องดื่มชูกำลัง 
ผลการวิจัย :- ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการตลาด(ผลิตภัณฑ์ ราคา และการส่งเสริมการตลาด) กับพฤติกรรมการซื้อเครื่องดื่มชูกำลังของผู้ใช้แรงงานฯ พบว่า :- เพศชาย อายุ 24 – 41 ปี บริโภคมาก มีรายได้/เดือน 5,001 – 10,000 บาท การศึกษาระดับ ม.ปลาย/ปวช. อาชีพผู้ใช้แรงงาน เครื่องดื่มที่มียอดจำหน่ายมากที่สุด คือ M 150 โดยซื้อจากร้านขายของชำ  บริโภคเพื่อให้ร่างกายสดชื่น สื่อที่นิยมคือ สื่อโทรทัศน์  ค่าใช้จ่ายครั้งละ 10-12 บาท  ความถี่สูงสุดในการซื้อ 1 ครั้ง/วัน  ปริมาณสูงสุดในการซื้อ ครั้งละ 1 ขวด/ 1แพ็ค
นักวิชาการ :- โทษของเครื่องดื่มชูกำลังส่งผลกระทบร้ายแรงในด้านจิตใจ เช่น กระสับกระส่าย มือเท้าสั่น โดยเฉพาะในเด็ก  กรณีดื่มเครื่องดื่มชูกำลังร่วมกับสุรา ในสถานศึกษาก็เริ่มมี "เหล้าชูกำลัง"จะทำให้เพิ่มอาการเมาเป็น 2 เท่า เป็นอันตรายต่อเยาวชน ได้แก่ เกิดอาการขาดน้ำ เนื่องจากฤทธิ์ของคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ผสมกัน สำหรับคนที่มีอาการเครียด มีความดันโลหิตสูง หรือมีระบบการทำงานของระบบหลอดเลือดบกพร่อง สามารถทำให้เป็นโรคหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองอุดตันได้ จึงไม่ควรดื่มเครื่องดื่มชูกำลังเกินวันละ 2 ขวด
  

[แก้] ส่วนประกอบของเครื่องดื่มชูกำลัง

 

ฟิฟตี้-ฟิฟตี้ 50-50 ฟิฟตี้-2000 บ.นครปฐมเครื่องดื่ม จำกัด

 

ของดีคนทำงาน เครื่องดื่ม คนทำงาน น่าสนใจ ของใหม่ที่คนไทยรู้จักมานาน  50-50 ฟิฟตี้-2000  บ.นครปฐมเครื่องดื่ม จำกัด

 

[แก้] ประโยชน์ของเครื่องดื่มชูกำลัง

นักวิจัยกล่าวว่า เนื่องจากเครื่องดื่มชูกำลังมีส่วนผสมของทอรีน ซึ่งสามารถลดอาการเมาค้าง ลดคลอเลสเตอรอล แต่ก็มีบางรายอ้างสรรพคุณว่า ช่วยส่งกระแสความรู้สึกให้ไวขึ้น ซึ่งคล้ายกับสารในนมแม่ ทำให้เครื่องดื่มของเด็กบางยี่ห้อได้ไส่สารนี้เข้าไป และยังมีสารอาหารประเภทวิตามินอีกหลายแบบ เช่น วิตามินบี6 ซึ่งช่วยช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน และ ช่วยร่างกายสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและแร่ธาตุแมกนีเซียม และวิตามินบี12 ที่มีคุณสมบัติช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง สำหรับเครื่องดื่มชูกำลังบางยี่ห้อที่มีราคาสูงจะมีส่วนผสมของสารกลูคูโรโนแลกโตน ซึ่งเป็นสารประกอบอีกชนิดหนึ่งของเครื่องดื่มชูกำลังช่วยทำให้ทุเลาอาการเหนื่อย ช่วยบำรุงข้อต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย [27]

[แก้] ผลกระทบของเครื่องดื่มชูกำลัง

[แก้] ด้านสุขภาพ

นักวิชาการหลายท่านออกมากล่าวว่า โทษของเครื่องดื่มชูกำลังส่งผลกระทบร้ายแรงในด้านจิตใจ เช่น กระสับกระส่าย มือเท้าสั่น โดยเฉพาะในเด็ก ในกรณีดื่มเครื่องดื่มชูกำลังร่วมกับสุรา จะทำให้เพิ่มอาการเมาเป็น 2 เท่า ส่วนอาจารย์จูเลีย เชสเตอร์ อาจารย์ท่านหนึ่งกล่าวว่า คนส่วนใหญ่ตกเป็นเหยื่อของสุรา แต่คนเหล่านั้นก็ยังพยายามก็จะต่อสู้จากการโฆษณาสุรา ทำให้เป็นที่มาของการโฆษณาเครื่องดื่มชูกำลังในท้องตลาด สำหรับในสถานศึกษาก็เริ่มมี "เหล้าชูกำลัง" เนื่องจากนักศึกษาบางคนต้องการดื่มสุรา แม้ว่าจะผิดกฎหมายก็ตาม โดยเครื่องดื่มชูกำลังที่ผสมกับสุรานั้น มีอันตรายมากกว่าอาการเมาค้าง ถึงแม้จะเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมก็ตาม ด้านแทมมี่ ลูว์ ผู้ช่วยผู้สนับสนุนสุขภาพ ของสำนักงานสุขภาพนักเรียน กล่าวว่า เครื่องดื่มชนิดนี้เมื่อดื่มเข้าไปแล้วจะไม่รู้สึกอ่อนล้าหรือเพลีย แต่จะเป็นอันตรายต่อเยาวชน เนื่องจากเยาวชนจะเข้าใจผิดว่าเครื่องดื่มชนิดนี้ดื่มแล้วจะไม่เป็นอันตราย อาการที่เกิดขึ้นได้แก่ เกิดอาการขาดน้ำ เนื่องจากฤทธิ์ของคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ผสมกัน (ส่วนใหญ่คนจะเข้าใจผิดว่าการผสมเครื่องดื่ม 2 ชนิดเข้าด้วยกันจะช่วยแก้อาการเมาค้างได้) แต่ในการทดลองนำยากระตุ้นประสาทผสมกับยากดประสาท ปรากฏว่าไม่เกิดอาการเมาค้างแต่อย่างใด[28] สำหรับผลการวิจัยจากประเทศออสเตรเลียก็ระบุว่า การดื่มเครื่องดื่มชูกำลังอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต สำหรับคนที่มีอาการเครียด มีความดันโลหิตสูง หรือมีระบบการทำงานของระบบหลอดเลือดบกพร่อง สามารถทำให้เป็นโรคหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองอุดตัน ได้ ทำให้มีนักวิชาการหลายท่านแนะนำว่าไม่ควรดื่มเครื่องดื่มชูกำลังวันละ 2 ขวด

วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555

ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึงผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์คิดค้น


แผนธุรกิจ ก็เป็นทรัพย์สินทางปัญญาคืออะไร


        ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึงผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์คิดค้น หรือความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญาและความชำนาญ โดยไม่คำนึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์ หรือวิธีการในการแสดงออก ทรัพย์สินทางปัญญาอาจเป็นสิ่งที่จับต้องได้ เช่น สินค้าต่างๆ หรือเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น บริการ แนวความคิด กรรมวิธี และทฤษฏีต่างๆ เป็นต้น
ทรัพย์สินทางปัญญา แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม (Industrial Property)
       
คือ ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม ความคิดสร้างสรรค์นี้จะเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะเป็นกระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ได้ปรับปรุงหรือคิดค้นขึ้นใหม่ หรือที่เกี่ยวกับตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นองค์ประกอบและรูปร่างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังรวมถึงเครื่องหมายการค้าหรือยี่ห้อ ชื่อและถิ่นที่อยู่ทางการค้า ที่รวมถึงแหล่งกำเนิดสินค้า และการป้องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม
             
ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1.1    สิทธิบัตร (Patent)
1.2    แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-Dsigns of Integrated Circuit)
1.3    เครื่องหมายการค้า (Trademark)
1.4    ความลับทางการค้า (Trade Secrets)
1.5    ชื่อทางการค้า (Trade Name)
1.6    สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication)

2. ลิขสิทธิ์ (Copyright)
   การถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer)
รูปแบบการถ่ายทอดเทคโนโลยีแบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
         1.  การทำสัญญาวิจัย ได้แก่
1.1  สัญญารับทุนสนับสนุนการวิจัย
(Sponsored Research)
1.2  สัญญารับจ้างวิจัย
(Commission Research)
1.3  สัญญาร่วมวิจัย
(Collaborative Research)
1.4  สัญญาให้สารหรือวัสดุเพื่อการวิจัย
(Research Materials Transfer)
1.5  สัญญาการให้คำปรึกษา(Research Consultancies)
      2.  การอนุญาตให้ใช้สิทธิ (Licensing)
      3.  การจัดตั้งบริษัท
(Spin-off/Start-Up Companies)
        
     โดยการพิจารณาว่าจะเลือกรูปแบบใดนั้น ขึ้นอยู่กับว่ารูปแบบบใดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อมหาวิทยาลัยและผู้ประดิษฐ์ / นักวิจัย


flo.gifการอนุญาตให้ใช้สิทธิ (Licensing)
    
         การอนุญาตให้ใช้สิทธิคือการอนุญาตให้ผู้ขอใช้สิทธิได้ใช้สิทธิใดๆ เช่น ผลิต ใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักร จากผู้อนุญาตให้ใช้สิทธิซึ่งเป็นเจ้าของสิทธินั้น โดยไม่มีการเปลี่ยนความเป็นเจ้าของโดยทั่วไป การอนุญาตให้ใช้สิทธิจะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ
       
         1. ให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Licensing)
         2. ให้ใช้สิทธิโดยไม่จำกัดแต่เพียงผู้เดียว (Non-Exclusive
Licensing)
         3. ให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวแต่ไม่จำกัดเจ้าของสิทธิ
(Sole Licensing)

การบ่มเพาะวิสาหกิจ (Business Incubation) คือ






การบ่มเพาะวิสาหกิจ คืออะไร ?
      การบ่มเพาะวิสาหกิจ (Business Incubation) คือ ขบวนการพัฒนาธุรกิจแบบหนึ่ง ซึ่งช่วยลดอัตราความล้มเหลวในการดำเนินธุรกิจ ในช่วงแรกเริ่มของการจัดตั้งวิสาหกิจ พร้อมกับการเร่งให้วิสาหกิจนั้นๆ เติบโตอย่างมั่นคง และคงอยู่ตลอดไป เป็นการสร้างงานและความมั่นคงให้แก่สังคมและประเทศชาติ
      ในการดำเนินงานการบ่มเพาะวิสาหกิจ ผู้ประกอบการใหม่ที่ได้รับการคัดเลือกเข้ามาอยู่ในโครงการ จะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดโดยมีบริการปรึกษาแนะนำในลักษณะพี่เลี้ยงดูแลผู้รับการบ่มเพาะ เสริมด้วยกิจกรรมเสริมความเข้มแข็ง และอื่นๆ การดูแลในช่วงระยะเวลาเริ่มต้นของการดำเนินธุรกิจประมาณ 1-2 ปี เพื่อให้ผู้ประกอบการได้เรียนรู้ ทดลองและปรับปรุงการทำธุรกิจ ตลอดจนพัฒนาสินค้าของตนเอง จนเกิดความมั่นใจ สามารถจัดตั้งธุรกิจ และยืนหยัดอยู่ได้ด้วยตนเอง หลังจากหมดระยะเวลาบ่มเพาะไปแล้ว

flo.gifศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ คืออะไร ?
      ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ( Business Incubation Center) เป็นสถานที่ๆถูกจัดสรรให้แก่ผู้ประกอบการ ประกอบด้วยพื้นที่ขนาดย่อมจำนวนหนึ่งเพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจในช่วงเริ่มต้น ภายในบรรยากาศที่ให้การสนับสนุน การให้บริการ พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานแก่ผู้ประกอบการ
      ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ เป็นรูปแบบของการสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีการดูแลอย่างใกล้ชิด และให้บริการปรึกษาแนะนำในลักษณะของพี่เลี้ยงทางธุรกิจที่จะคอยดูแลผู้ประกอบการใหม่ เพื่อช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ธุรกิจที่อยู่ในระยะก่อตั้งกิจการ ให้สามารถดำเนินกิจการได้อย่างยั่งยืนต่อไป โดยอาศัยการแนะนำอย่างใกล้ชิด ทั้งจากทีมที่ปรึกษาของสถาบันฯ และผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์จริง การสร้างเครือข่ายระหว่างสมาชิกด้วยกัน การแบ่งปันประสบการณ์การทำธุรกิจระหว่างสมาชิก ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจจะเป็นแหล่งศูนย์รวมความรู้ในการจัดทำธุรกิจ และเป็นการช่วยลดต้นทุนในกระบวนการจัดตั้งกิจการ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดสำหรับธุรกิจใหม่

flo.gifลักษณะของการบ่มเพาะวิสาหกิจ มีแบบใดบ้าง ?
      โดยทั่วไปการบ่มเพาะวิสาหกิจมี 2 ลักษณะ คือ
     
1. การบ่มเพาะแบบ in-wall incubation คือ ผู้ถูกบ่มเพาะจะต้องเข้ามาอยู่ในศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ที่ศูนย์บ่มเพาะฯจัดเตรียมไว้ให้ เต็มเวลา ของช่วงระยะการบ่มเพาะ โดยที่จะมีการจัดพื้นที่สำนักงาน และพื้นที่การผลิตพร้อมอุปกรณ์เครื่องมือการผลิตที่จะต้องใช้ร่วมกันไว้ให้ใน อาคารศูนย์บ่มเพาะฯ ตลอดจนมีที่ปรึกษาเป็นพี่เลี้ยงดูแลให้ตลอดช่วงเวลาของการบ่มเพาะ
      2. การบ่มเพาะแบบ out-wall incubation คือ ผู้รับการบ่มเพาะมีสถานที่ตั้งธุรกิจ มีสำนักงาน อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องจักรของตนเอง ต้องการเพียงการบริการปรึกษาแนะนำ จากเจ้าหน้าที่บ่มเพาะวิสาหกิจ และที่ปรึกษาเฉพาะทางซึ่งให้คำปรึกษาในเชิงลึก ที่จะจัดหาให้ในช่วงเวลาการบ่มเพาะ การให้บริการปรึกษาจะจัดให้ทั้งในศูนย์บ่มเพาะฯ และ ณ สถานที่ประกอบการของผู้ประกอบการ
flo.gifผู้ประกอบการใหม่จะได้รับประโยชน์อะไร?
       จากการบ่มเพาะวิสาหกิจบริการที่ผู้ประกอบการจะได้รับ ได้แก่
      
1. ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากเจ้าหน้าที่บ่มเพาะวิสาหกิจ (mentor) ที่ปรึกษาในเรื่องการจัดตั้ง และเริ่มต้นดำเนินธุรกิจ และอื่นๆ
       2. มีทีมงานที่ปรึกษาเฉพาะทาง ให้คำปรึกษาในเชิงลึก 2 ทีม คือ
          
- ทีมที่ปรึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ให้คำแนะนำด้านการบริหารตลาด บริหารการผลิต บริหารด้านการเงิน บริหารบุคลากร และอื่นๆ
          
- ทีมที่ปรึกษาด้านเทคนิคการผลิตและเทคโนโลยี ให้คำแนะนำด้านการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์
flo.gifใครคือกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับเลือกเข้ากิจกรรมบ่มเพาะฯ ?
       1. นักศึกษาที่สนใจและมีศักยภาพทางธุรกิจ
         
- นักศึกษาระดับปริญญาตรีตั้งแต่ปี 3 ขึ้นไป
         
- นักศึกษาระดับปริญญาโท
       2. บัณฑิตและศิษย์เก่าที่สนใจและมีศักยภาพทางธุรกิจ
       3. เจ้าของผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และผลงานสร้างสรรค์ ที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ในแนวทางที่เหมาะสม
       4. บุคลากรของมหาวิทยาลัยที่สนใจทางธุรกิจ
       5. ชมรมผู้ประกอบการนักศึกษา
       6. เอกชนภายนอกที่มีความร่วมมือทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ และผลิตภัณฑ์ของมหาวิทยาลัย
flo.gifเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกมี อย่างไร ?
       1. ผู้สมัครทุกคนจะต้องผ่านการคัดเลือก สัมภาษณ์ และการประเมินความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการ
      
2. ต้องมีแผนธุรกิจและแนวคิดทางธุรกิจที่ชัดเจน หรือข้อเสนอโครงการที่สามารถดำเนินการตามแผนได้
      
3.เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และเคยอยู่ในแวดวงธุรกิจ และมีความมุ่งมั่นและตั้งใจสูงที่จะมีธุรกิจเป็นของตนเองที่ประสบความสำเร็จ
      
4. มีสินทรัพย์ และ/หรือเงินสด ไม่ต่ำกว่า 30% ของเงินลงทุนทั้งหมด
flo.gifรูปแบบการบ่มเพาะ มีกี่แบบ ?
      1. การบ่มเพาะแบบ In Wall Incubation
         
สำหรับผู้ถูกบ่มเพาะที่ยังไม่มีพื้นที่ตั้งธุรกิจ จึงต้องเข้ามาอยู่ในพื้นที่ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจที่ได้จัดเตรียมไว้ให้
     
2. การบ่มเพาะแบบ Out Wall Incubation
         
สำหรับผู้ถูกบ่มเพาะที่มีพื้นที่ตั้งธุรกิจเป็นของตนเองแล้ว เช่นมีสำนักงาน อุปกรณ์เครื่องมือ และเครื่องจักรของตนเองอยู่แล้ว ต้องการเพียงบริการปรึกษาแนะนำจากพี่เลี้ยง และที่ปรึกษาเฉพาะทางที่ทางศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจจัดหาให้ในช่วงระยะเวลาการบ่มเพาะ
flo.gifบริการบ่มเพาะวิสาหกิจ มีอะไรบ้าง ?
      1. บริการให้พื้นที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ
     
2. บริการให้คำปรึกษา และการดูแลอย่างใกล้ชิดจากเจ้าหน้าที่บ่มเพาะวิสาหกิจ ในเรื่องการจัดตั้ง แผนธุรกิจ และเริ่มต้นดำเนินธุรกิจ
     
3. บริการปรึกษาแนะนำจากทีมที่ปรึกษาเฉพาะทาง ได้แก่
        
-ทีมที่ปรึกษาทางธุรกิจ ที่จะให้คำแนะนำด้านธุรกิจทุกด้าน ทั้งในด้านของการบริหารการตลาด การบริหารการเงิน การบริหารบุคคล การตลาดส่งออก เป็นต้น
        
-ทีมที่ปรึกษาเฉพาะทางในด้านการผลิต, เทคโนโลยี, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์
     
4. บริการฝึกอบรมให้ความรู้พื้นฐานและกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินธุรกิจ เช่น การดูงาน/ออกงานนิทรรศการต่างๆ กิจกรรม Business Matching การพบปะนักธุรกิจรุ่นพี่ การเสนอแผนกับสถาบันการเงิน และการหาผู้ร่วมลงทุน

E-Learning การศึกษาไทย




ดร.สมัย เหมมั่น
ดร.วาสนา คงสกุลทรัพย์
ดร.นัทพิชา รบอาจ
ดร.พิมพ์ชนก พ่วงกระแสร์
ดร.รศิตา ทาทอง
ดร.ภัคพิสุทธิ์ กล่อมกระโทก
ดร.กิตตินันท์ พิศสุวรรณ
PDF] 

E-learning กับการศึกษาไทย ( E-learning with Thai Education) - วิชาการ

www.vcharkarn.com/journal/download.php?id...แบ่งปัน
แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - มุมมองด่วน
ทั่วโลก (ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ; 8 มกราคม 2550). ความหมายของ E- ... กระทรวง ศึกษาได้มีการรับรองการศึกษาทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างเป็นทางการ. ตั้งแต่ต้นปี 2549 ...
  • [PPT] 

    ICT PLAN แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

    202.28.94.51/web/.../ICT%20Plan%20for%20MOE.pptแบ่งปัน
    แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
    รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - มุมมองด่วน
    พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ... พัฒนาหลักสูตรให้เอื้อต่อการประยุกต์ใช้ ICT; เพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนทางไกล ... การจัดการศึกษาทางไกลครอบคลุมทุกพื้นที่ และมีศูนย์ บริการ ...
  • [DOC] 

    ใบงานที่ 1 การวิเคราะห์สาระสำคัญในรัฐธรรมนูญพ.ศ.2540,2550ฯ - koratru14

    koratru14.files.wordpress.com/.../ ...แบ่งปัน
    แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
    รูปแบบไฟล์: Microsoft Word - มุมมองด่วน
    ศ.2540,2550... มาตรา ๔๒ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียน การสอน ... แก้ไขข้อความท้ายตารางเรื่องการศึกษาพรบ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 .... เมืองจนห่างไกลแปลกแยกชีวิตครอบครัวและชุมชนการศึกษาทางเลือกแตกต่างจากการ ...

  • วันศุกร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2555

    ประวัติและผลงาน บ้านสิวารัตน์

    บริษัท คาสเซ่อร์พีค เรียลเอสเตท จำกัด: บริษัท คาสเซ่อร์พีค เรียลเอสเตท จำกัด ประวัติและผ...: โครงการสิวารัตน์ บ้านน่าอยู่ อยู่ภายใต้กฏหมายการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด พิจารณา โครงการทุกโครงการสิวารัตน์...

    วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

    Thailand ประเทศไทย

    จังหวัดในประเทศไทย



    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี




    แผนที่ประเทศไทยแสดงเขตรัฐกิจของจังหวัดต่างๆ
    แผนที่ประเทศไทยแสดงเขตรัฐกิจของจังหวัดต่างๆ (คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขยาย)
    ███ ภาคเหนือ
    ███ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ███ ภาคกลาง
    ███ ภาคตะวันออก
    ███ ภาคตะวันตก
    ███ ภาคใต้
    จังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด[ก] (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด[ข]) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด
    การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา)
    หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต

    เนื้อหา

     [ซ่อน

    ประวัติ

    สมัยก่อนการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน

    การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2435


    แผนที่มณฑลเทศาภิบาล พ.ศ. 2458
    พ.ศ. 2435 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้มีการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินครั้งใหญ่ ให้เป็นไปตามอย่างอารยะประเทศในโลกตะวันตก โดยทรงตั้งกระทรวงขึ้นใหม่ 12 กระทรวง และโอนการปกครองหัวเมืองทั้งหมดให้มาขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (ขณะนั้นดำรงพระยศเป็นกรมหมื่นดำรงราชานุภาพ) เป็นองค์ปฐมเสนาบดี
    เมื่องานการปกครองส่วนภูมิภาคขึ้นกับกระทรวงมหาดไทยแล้ว การจัดการปกครองด้วยระบบมณฑลเทศาภิบาลจึงได้เริ่มมีขึ้นในปี พ.ศ. 2437 โดยแบ่งระดับการปกครองจากสูดสุงไปหาต่ำสุดเป็นมณฑล, เมือง (เทียบเท่าจังหวัด), อำเภอ, ตำบล และหมู่บ้าน มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้กำกับดูแลมณฑล การก่อตั้งมณฑลนั้นจะเป็นไปตามลำดับโดยขึ้นอยู่กับความเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ด้วย วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดการปกครองเช่นนี้ ก็เพื่อให้ส่วนกลางสามารถควบคุมดูแลหัวเมืองและจัดการผลประโยชน์แผ่นดินได้อย่างใกล้ชิด และริดลอนอำนาจและอิทธิพลของเจ้าเมืองในระบบเดิมลงอย่างสิ้นเชิง
    การเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองดังกล่าว ทำให้ขุนนางท้องถิ่นที่ต้องการรักษาฐานอำนาจและอิทธิพลของตนไว้ ก่อการกบฏต่อต้านอำนาจรัฐในบางภูมิภาค เหตุการณ์กบฎครั้งสำคัญคือกบฏผู้มีบุญอีสาน (หรือ "กบฎผีบาปผีบุญ") ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2445 โดยอาศัยความเชื่อเรื่องยุคพระศรีอาริยเมตไตรย เป็นเครื่องมือในการปลุกระดมประชาชนให้ต่อต้านอำนาจรัฐ ขบวนการผู้มีบุญได้เคลื่อนไหวตามทั่วภาคอีสาน แต่ที่เป็นเหตุใหญ่ที่สุดอยู่ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งกลุ่มกบฎได้ก่อการถึงขั้นเผาเมืองเขมราฐและบังคับให้เจ้าเมืองเขมราฐร่วมขบวนการ แต่ที่สุดแล้วกบฏครั้งนี้ก็ถูกปราบปรามลงในเวลาไม่กี่เดือนต่อมา
    หลังปี พ.ศ. 2459 คำว่า "จังหวัด" ได้กลายเป็นคำที่เรียกหน่วยการปกครองระดับต่ำกว่ามณฑลแทนคำว่า "เมือง" เพื่อแยกความกำกวมจากคำว่าเมืองที่ใช้เรียกที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองของจังหวัด (อำเภอเมือง)
    เมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงลาออกจาตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยในปี พ.ศ. 2458 นั้น ประเทศสยามได้แบ่งการปกครองออกเป็น 19 มณฑล 72 จังหวัด ทั้งนี้ ได้รวมถึงจังหวัดพระนคร ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงนครบาลจนถึง พ.ศ. 2465
    เดือนธันวาคม พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งหน่วยการปกครองระดับ "ภาค" ขึ้นเพื่อกำกับมณฑล โดยมีผู้ปกครองภาคเรียกว่า "อุปราช" ในระยะนี้ได้มีการตั้งมณฑลต่างๆ เพิ่มขึ้นจนถึงปี พ.ศ. 2465 อีก 4 มณฑล แต่มณฑลดังกล่าวก็ถูกยุบลงในปี พ.ศ. 2468 และมีอีกหลายมณฑลที่ถูกยุบรวมในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อลดรายจ่ายของรัฐบาล อันเนื่องมาจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1

    สมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง

    หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศสยามใน พ.ศ. 2475 ระบบมณฑลเทศาภิบาลได้ถูกยกเลิกในปี พ.ศ. 2476 ทำให้จังหวัดกลายเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคระดับสูงสุด และตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา ก็ได้มีการจัดตั้งจังหวัดเพิ่มเติมอีกหลายแห่ง โดยการตัดแบ่งอาณาเขตบางส่วนจากจังหวัดที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น ในปี พ.ศ. 2515 ได้มีการแบ่งพื้นที่บางส่วนของจังหวัดอุบลราชธานีมาจัดตั้งเป็นจังหวัดยโสธร ในปี พ.ศ. 2520ได้มีการแบ่งพื้นที่บางส่วนของจังหวัดเชียงรายมาจัดตั้งเป็นจังหวัดพะเยา ในปี พ.ศ. 2525 ได้มีการแบ่งพื้นที่บางส่วนของจังหวัดนครพนมมาตั้งเป็นจังหวัดจังหวัดมุกดาหาร ในปีพ.ศ. 2536ได้มีการตั้งจังหวัดขึ้นมาพร้อมกัน 3 จังหวัดคือจังหวัดหนองบัวลำภู (แยกจากจังหวัดอุดรธานี) จังหวัดสระแก้ว (แยกจากจังหวัดปราจีนบุรี) และจังหวัดอำนาจเจริญ (แยกจากจังหวัดอุบลราชธานี) และจังหวัดล่าสุดของประเทศไทยคือจังหวัดบึงกาฬซึ่งแยกออกมาจากจังหวัดหนองคายในปีพ.ศ. 2554
    ในปี พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรีขึ้นเป็นเขตปกครองรูปแบบพิเศษชื่อ "นครหลวงกรุงเทพธนบุรี" และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "กรุงเทพมหานคร" เมื่อ พ.ศ. 2515 ซึ่งเป็นการรวมภารกิจในการปกครองของทั้งสองจังหวัดในรูปแบบเทศบาลเข้าไว้ด้วยกัน ที่มาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นผู้ปกครองสูงสุดของกรุงเทพมหานครนั้น มาจากการเลือกตั้ง ไม่ใช่การแต่งตั้งจากกระทรวงมหาดไทยอย่างจังหวัดอื่น

    การแบ่งอย่างเป็นทางการ

    ราชบัณฑิตยสถาน แบ่งประเทศไทยออกเป็น 6 ภาค โดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์[1] ซึ่งเป็นการแบ่งที่ใช้อย่างเป็นทางการ และมีใช้ทั่วไปในแบบเรียน

    ภาคเหนือ


    จังหวัดในภาคเหนือ
    ตราจังหวัดเขตการปกครองส่วนกลางประชากรพื้นที่ (กม.²)ความหนาแน่นHDIเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุดตัวย่อISO
    Seal Chiang Rai.pngจังหวัดเชียงรายเทศบาลนครเชียงราย1,129,70111,678.496.70.716เทศบาลนครเชียงรายชรTH-57
    Seal Chiang Mai.pngจังหวัดเชียงใหม่เทศบาลนครเชียงใหม่1,649,45720,107.082.030.904เทศบาลนครเชียงใหม่ชมTH-50
    Seal Nan.pngจังหวัดน่านเทศบาลเมืองน่าน475,61411,472.141.50.705เทศบาลเมืองน่านooTH-55
    Seal Phayao.pngจังหวัดพะเยาเทศบาลเมืองพะเยา502,7806,335.179.40.722เทศบาลเมืองพะเยาพยTH-56
    Seal Phrae.pngจังหวัดแพร่เทศบาลเมืองแพร่492,5616,538.675.30.702เทศบาลเมืองแพร่พรTH-54
    Seal Mae Hong Son.pngจังหวัดแม่ฮ่องสอนเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน248,74812,681.319.60.704เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอนมสTH-58
    Seal Lampang.pngจังหวัดลำปางเทศบาลนครลำปาง782,15212,534.062.40.748เทศบาลนครลำปางลปTH-52
    Seal Lamphun.pngจังหวัดลำพูนเทศบาลเมืองลำพูน413,2994,505.991.70.729เทศบาลเมืองลำพูนลพTH-51
    Seal Uttaradit.pngจังหวัดอุตรดิตถ์เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์464,4747,838.659.30.711เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์อตTH-53

    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


    จังหวัดในภาคอีสาน
    ตราจังหวัดเทศบาลศูนย์กลางประชากรพื้นที่ (กม.²)ความหนาแน่นHDIเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดตัวย่อISO
    Seal Kalasin.pngจังหวัดกาฬสินธุ์เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์921,3666,946.7132.60.718เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์กสTH-46
    Seal Khon Kaen.pngจังหวัดขอนแก่นเทศบาลนครขอนแก่น1,733,43410,886.0159.20.850เทศบาลนครขอนแก่นขกTH-40
    Seal Chaiyaphum.pngจังหวัดชัยภูมิเทศบาลเมืองชัยภูมิ1,095,36012,778.385.70.748เทศบาลเมืองชัยภูมิชยTH-36
    Seal Nakhon Phanom.pngจังหวัดนครพนมเทศบาลเมืองนครพนม684,4445,512.7124.20.778เทศบาลเมืองนครพนมนพTH-48
    Seal Nakhon Ratchasima.pngจังหวัดนครราชสีมาเทศบาลนครนครราชสีมา2,565,11720,494.0125.20.815เทศบาลนครนครราชสีมานมTH-30
    Seal Bueng Kan.pngจังหวัดบึงกาฬเทศบาลตำบลบึงกาฬ385,0534,30589.4เทศบาลตำบลบึงกาฬTH-38
    Seal Buriram.pngจังหวัดบุรีรัมย์เทศบาลเมืองบุรีรัมย์1,493,35910,322.9144.70.729เทศบาลเมืองบุรีรัมย์บรTH-31
    Seal Maha Sarakham.pngจังหวัดมหาสารคามเทศบาลเมืองมหาสารคาม947,3135,291.71790.729เทศบาลเมืองมหาสารคามมคTH-44
    Seal Mukdahan.pngจังหวัดมุกดาหารเทศบาลเมืองมุกดาหาร310,7184,339.871.60.728เทศบาลเมืองมุกดาหารมหTH-49
    Seal Yasothon.pngจังหวัดยโสธรเทศบาลเมืองยโสธร561,4304,161.7134.90.782เทศบาลเมืองยโสธรยสTH-35
    Seal Roi Et.pngจังหวัดร้อยเอ็ดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด1,256,4588,299.4151.40.732เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดรอTH-45
    Seal Loei.pngจังหวัดเลยเทศบาลเมืองเลย607,08311,424.653.10.731เทศบาลเมืองเลยลยTH-42
    Seal Sakon Nakhon.pngจังหวัดสกลนครเทศบาลนครสกลนคร1,040,7669,605.8108.30.705เทศบาลนครสกลนครสนTH-47
    Seal Surin.pngจังหวัดสุรินทร์เทศบาลเมืองสุรินทร์1,375,2578,124.1169.30.751เทศบาลเมืองสุรินทร์สรTH-32
    Seal Sisaket.pngจังหวัดศรีสะเกษเทศบาลเมืองศรีสะเกษ1,405,5008,840.01590.734เทศบาลเมืองศรีสะเกษศกTH-33
    Seal Nong Khai.pngจังหวัดหนองคายเทศบาลเมืองหนองคาย498,6513,027164.70.755เทศบาลเมืองหนองคายนคTH-43
    Seal Nong Bua Lamphu.pngจังหวัดหนองบัวลำภูเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู482,2073,859.01250.714เทศบาลเมืองหนองบัวลำภูนภTH-39
    Seal Amnat Charoen.pngจังหวัดอำนาจเจริญองค์การบริหารส่วนตำบลโนนหนามแท่ง359,3603,161.2113.70.712องค์การบริหารส่วนตำบลโนนหนามแท่งอจTH-37
    Seal Udon Thani.pngจังหวัดอุดรธานีเทศบาลนครอุดรธานี1,467,15811,730.3125.10.907เทศบาลนครอุดรธานีอดTH-41
    Seal Ubon Ratchathani.pngจังหวัดอุบลราชธานีเทศบาลนครอุบลราชธานี1,803,75416,112.6111.90.800เทศบาลนครอุบลราชธานีอบTH-34

    ภาคกลาง

    Central Thailand six regions.png
    มี 21 จังหวัด (กรุงเทพมหานครไม่ถือเป็นจังหวัด)
    1. จังหวัดกำแพงเพชร
    2. จังหวัดชัยนาท
    3. จังหวัดนครนายก
    4. จังหวัดนครปฐม
    5. จังหวัดนครสวรรค์
    6. จังหวัดนนทบุรี
    7. จังหวัดปทุมธานี
    8. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    9. จังหวัดพิจิตร
    10. จังหวัดพิษณุโลก
    11. จังหวัดเพชรบูรณ์
    12. จังหวัดลพบุรี
    13. จังหวัดสมุทรปราการ
    14. จังหวัดสมุทรสงคราม
    15. จังหวัดสมุทรสาคร
    16. จังหวัดสิงห์บุรี
    17. จังหวัดสุโขทัย
    18. จังหวัดสุพรรณบุรี
    19. จังหวัดสระบุรี
    20. จังหวัดอ่างทอง
    21. จังหวัดอุทัยธานี

    ภาคตะวันออก

    Thailand East.png
    มี 7 จังหวัด
    1. จังหวัดจันทบุรี
    2. จังหวัดฉะเชิงเทรา
    3. จังหวัดชลบุรี
    4. จังหวัดตราด
    5. จังหวัดปราจีนบุรี
    6. จังหวัดระยอง
    7. จังหวัดสระแก้ว

    ภาคตะวันตก

    Thailand West.png
    มี 5 จังหวัด
    1. จังหวัดกาญจนบุรี
    2. จังหวัดตาก
    3. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
    4. จังหวัดเพชรบุรี
    5. จังหวัดราชบุรี

    ภาคใต้

    Thailand South.png
    มี 14 จังหวัด
    1. จังหวัดกระบี่
    2. จังหวัดชุมพร
    3. จังหวัดตรัง
    4. จังหวัดนครศรีธรรมราช
    5. จังหวัดนราธิวาส
    6. จังหวัดปัตตานี
    7. จังหวัดพังงา
    8. จังหวัดพัทลุง
    9. จังหวัดภูเก็ต
    10. จังหวัดระนอง
    11. จังหวัดสตูล
    12. จังหวัดสงขลา
    13. จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    14. จังหวัดยะลา

    การแบ่งแบบอื่น

    กลุ่มจังหวัด

    ดูเพิ่มที่ กลุ่มจังหวัด
    เป็นการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดในประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการบริหารงานแบบบูรณาการ โดยริเริ่มจัดตั้งโดยการกำหนดจังหวัดต้นแบบการบริหารงานแบบบูรณาการ (CEO) ในสมัยรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันประเทศไทยแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็น 18 กลุ่มจังหวัด

    สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

    การแบ่งภูมิภาคประเทศไทยตามคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
    คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แบ่งประเทศไทยออกเป็น 6 ภาค มีขอบเขตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้เหมือนกับภูมิภาคทาง ภูมิศาสตร์ แต่ขอบเขตของภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกแตกต่างไปจากภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ ดังนี้[1]
    ██ ภาคเหนือ
    มี 17 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดแพร่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน จังหวัดสุโขทัย จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดอุทัยธานี
    ██ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ประกอบด้วย 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือทางภูมิศาสตร์ เช่นเดียวกับราชบัณฑิตยสถาน
    ██ ภาคกลาง
    มีกรุงเทพมหานครและอีก 8 จังหวัด คือ ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดอ่างทอง
    ██ ภาคตะวันออก
    มี 9 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสระแก้ว
    ██ ภาคตะวันตก
    มี 8 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสุพรรณบุรี
    ██ ภาคใต้
    มี 14 จังหวัด ประกอบด้วย 14 จังหวัดปักษ์ใต้ทั้งหมด โดยนับจากจังหวัดชุมพรลงไปจนถึงนราธิวาส เช่นเดียวกับราชบัณฑิตยสถาน

    กรมอุตุนิยมวิทยา

    การแบ่งภูมิภาคประเทศไทยตามกรมอุตุนิยมวิทยา
    กรมอุตุนิยมวิทยา แบ่งประเทศไทยออกเป็น 7 ภาค ดังนี้[2]
    ██ ภาคเหนือ
    มี 15 จังหวัด ประกอบด้วย 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับอีก 6 จังหวัดคือ จังหวัดกำแพงเพชร ตาก พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และสุโขทัย
    ██ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ประกอบด้วย 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือทางภูมิศาสตร์ เช่นเดียวกับราชบัณฑิตยสถาน
    ██ ภาคกลาง
    มี 12 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดกาญจนบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา นครนายก นครสวรรค์ ราชบุรี ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง และอุทัยธานี
    ██ ภาคตะวันออกรวมทั้งชายฝั่ง
    มี 7 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดจันทบุรี ชลบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว
    ██ ภาคใต้ฝั่งตะวันออก
    มี 10 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
    ██ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก
    มี 6 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล
    ██ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    ประกอบด้วยกรุงเทพมหานครและอีก 6 จังหวัด คือ จังหวัดนครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร

    กรมทางหลวง

    การแบ่งภูมิภาคประเทศไทยตามกรมทางหลวง
    กรมทางหลวง แบ่งประเทศไทยออกเป็น 4 ภาค ตามลำดับหมายเลขทางหลวง ได้แก่
    ██ ภาคเหนือ
    มี 15 จังหวัด ประกอบด้วย 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบนกับอีก 6 จังหวัดคือ พิษณุโลก สุโขทัย ตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ และพิจิตร
    ██ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    มี 21 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดเพชรบูรณ์กับ 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือในทางภูมิศาสตร์
    ██ ภาคกลาง
    มี 27 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์
    ██ ภาคใต้
    มี 14 จังหวัด ประกอบด้วย 14 จังหวัดปักษ์ใต้ทั้งหมด โดยนับจากจังหวัดชุมพรลงไปจนถึงนราธิวาส เช่นเดียวกับราชบัณฑิตยสถาน

    รหัสโทรศัพท์พื้นฐาน

    Map TH provinces by areacode.png
    ██ 02 กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    ประกอบด้วยกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และบางส่วนของอำเภอพุทธมณฑล อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน (จังหวัดนครปฐม) และอำเภอกระทุ่มแบน (จังหวัดสมุทรสาคร) ใช้รหัส 02
    ██ 03x ภาคกลาง
    มี 21 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ใช้รหัสขึ้นต้นด้วย 03 ยกเว้นบางส่วนของอำเภอพุทธมณฑล อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน (จังหวัดนครปฐม) และอำเภอกระทุ่มแบน (จังหวัดสมุทรสาคร) ใช้รหัส 02
    032 - ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และราชบุรี
    034 - กาญจนบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และนครปฐม
    035 - พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี และอ่างทอง
    036 - สระบุรี สิงห์บุรี และลพบุรี
    037 - นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว
    038 - ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง
    039 - จันทบุรี และตราด
    ██ 04x ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ประกอบด้วย 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือทางภูมิศาสตร์ เช่นเดียวกับราชบัณฑิตยสถาน
    042 - อุดรธานี หนองบัวลำภู เลย หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร
    043 - ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์
    044 - นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์
    045 - ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร และอำนาจเจริญ
    ██ 05x ภาคเหนือ
    มี 18 จังหวัด ประกอบด้วย 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับอีก 9 จังหวัดคือ พิษณุโลก สุโขทัย ตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร เพชรบูรณ์ อุทัยธานี และชัยนาท
    ██ 07x ภาคใต้
    ประกอบด้วย 14 จังหวัดปักษ์ใต้ทั้งหมด โดยนับจากจังหวัดชุมพรลงไปจนถึงนราธิวาส เช่นเดียวกับราชบัณฑิตยสถาน

    รหัสไปรษณีย์

    กรมไปรษณีย์โทรเลข ได้แบ่งประเทศไทยออกเป็น 9 ภาค ตามระบบรหัสไปรษณีย์
    Map TH provinces by postalcode.png
    ██ ภาคกลาง
    มี 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และสมุทรปราการ ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 1
    ██ ภาคตะวันออก
    มี 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 2
    ██ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    มี 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ และยโสธร ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 3
    ██ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    มี 12 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และขอนแก่น ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 4 (ยกเว้นจังหวัดหนองบัวลำภูและจังหวัดบึงกาฬ รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 3)
    ██ ภาคเหนือตอนบน
    มี 9 จังหวัด ได้แก่ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบนทั้งหมด ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 5
    ██ ภาคเหนือตอนล่าง (ภาคกลางตอนบน)
    มี 8 จังหวัด ได้แก่ 8 จังหวัดภาคกลางตอนบนทั้งหมด ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 6
    ██ ภาคตะวันตก
    มี 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 7
    ██ ภาคใต้ตอนบน
    มี 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา ภูเก็ต กระบี่ และนครศรีธรรมราช ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 8
    ██ ภาคใต้ตอนล่าง
    มี 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตรัง สตูล พัทลุง สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ใช้รหัสไปรษณีย์ขึ้นต้นด้วยเลข 9

    การเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน

    Map TH provinces by electoral2007.png
    แบ่งโดยใช้จำนวนประชากรในกลุ่มแบ่งออกเป็น 8 กลุ่มโดยให้มีจำนวนประชากรใกล้เคียงกันและ ในแต่ละกลุ่มจะต้องมีพื้นที่ต่อเนื่องกันเป็นผืนเดียว
    ██ กลุ่มที่ 1
    มีจำนวน 11 จังหวัด ประชากรรวม 7,615,610 คน ได้แก่ จังหวัดเชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ พะเยา น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ สุโขทัย ตาก และกำแพงเพชร
    ██ กลุ่มที่ 2
    มีจำนวน 9 จังหวัด ประชากรรวม 7,897,563 คน ได้แก่ จังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ ขอนแก่น ลพบุรี นครสวรรค์ และอุทัยธานี
    ██ กลุ่มที่ 3
    มีจำนวน 11 จังหวัด ประชากรรวม 7,959,163 คน ได้แก่ จังหวัดหนองคาย บึงกาฬ อุดรธานี เลย นครพนม สกลนคร หนองบัวลำภู กาฬสินธุ์ มุกดาหาร มหาสารคาม และอำนาจเจริญ
    ██ กลุ่มที่ 4
    มีจำนวน 6 จังหวัด ประชากรรวม 7,992,434 คน ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ และบุรีรัมย์
    ██ กลุ่มที่ 5
    มีจำนวน 10 จังหวัด ประชากรรวม 7,818,710 คน ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และปทุมธานี
    ██ กลุ่มที่ 6
    มีจำนวน 3 จังหวัด ประชากรรวม 7,802,639 คน ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ
    ██ กลุ่มที่ 7
    มีจำนวน 15 จังหวัด ประชากรรวม 7,800,965 คน ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา สระบุรี สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม
    ██ กลุ่มที่ 8
    มีจำนวน 12 จังหวัด ประชากรรวม 7,941,622 คน ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี นราธิวาส และยะลา

    กิจการลูกเสือ

    Map TH provinces by scoutscarf.png
    ██ เขตที่ 1- สีเหลืองทอง
    มีจำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร
    ██ เขตที่ 2- สีน้ำทะเล
    มีจำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
    ██ เขตที่ 3- สีเขียวใบไม้
    มีจำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา
    ██ เขตที่ 4- สีฟ้า
    มีจำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง
    ██ เขตที่ 5- สีกรมท่า
    มีจำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม
    ██ เขตที่ 6- สีแดง
    มีจำนวน 7 จังหวัด ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา
    ██ เขตที่ 7- สีม่วง
    มีจำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย ตาก พิษณุโลก กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร เพชรบูรณ์
    ██ เขตที่ 8- สีบานเย็น
    มีจำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน แพร่ พะเยา ลำพูน ลำปาง
    ██ เขตที่ 9- สีน้ำตาล
    มีจำนวน 7 จังหวัด ได้แก่ เลย ขอนแก่น หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร
    ██ เขตที่ 10- สีชมพูอ่อน
    มีจำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร นครพนม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม
    ██ เขตที่ 11- สีส้ม
    มีจำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ
    ██ เขตที่ 12- สีตองอ่อน
    มีจำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด

    ผู้ว่าราชการจังหวัด

    ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตำแหน่งบังคับบัญชาของจังหวัด เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง (ระดับ 10) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งกระทรวงมหาดไทย จะเป็นผู้พิจารณาและเสนอรายชื่อต่อคณะรัฐมนตรี พิจารณานำทูลเกล้าฯ เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งต่อไป

    เชิงอรรถ

    . ^  ตามข้อมูลของกรมการปกครองเมื่อปี พ.ศ. 2552 ประเทศไทยแบ่งการปกครองออกเป็น 75 จังหวัด[3] และต่อมา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2554 มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554 ซึ่งทำให้จังหวัดบึงกาฬเป็นจังหวัดที่ 76 ของไทย[4]
    . ^  กรุงเทพมหานครเป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของราชการส่วนท้องถิ่น กรุงเทพมหานครเคยเป็นจังหวัด ซึ่งเป็นราชการส่วนภูมิภาค แต่บัดนี้มิใช่แล้ว

    อ้างอิง

    ดูเพิ่ม

    แหล่งข้อมูลอื่น